Select your language TH EN
เภสัชกรรม การชั่ง-ตวง-วัด  thai-herbs.thdata.co thdata.co

อ่านบทความอัตโนมัติ



การชั่งตัวยา

       ผู้เป็นเภสัชกรจะต้องรู้จักการชั่งตัวยา โดยใช้มาตราต่างๆ เพื่อให้การปรุงยาเป็นไปตามตำรับยา หรือใบสั่งยา และการชั่งแบบโบราณ หมอนิยมใช้เครื่องหมาย “ตีนกา”  บอกน้ำหนัก วางไว้ท้ายชื่อตัวยานั้น

๑.๑ เครื่องหมายตีนกา

เป็นเครื่องหมายที่หมอโบราณนิยมใช้บอกขนาดของตัวยาในใบสั่งยา มีลักษณะคล้ายเครื่องหมาย กากบาท ตำแหน่งต่างๆในเครื่องหมายจะบอกถึงมาตรา

 เครื่องหมายตีนกาเทียบน้ำหนักที่ใช้ในตำรายาไทย

ตัวอย่างการอ่านค่าเครื่องหมายตีนกา อ่านได้ดังนี้ คือ ๑ ชั่ง ๒ ตำลึง ๓ บาท ๕ สตางค์ ๔ เฟื้อง ๖ ไพ


๑.๒ มาตราชั่ง แบบโบราณ

ไพ

เท่ากับ

เฟื้อง

เฟื้อง

เท่ากับ

สลึง

สลึง

เท่ากับ

บาท

บาท

เท่ากับ

ตำลึง

๒๐

ตำลึง

เท่ากับ

ชั่ง

๕๐

ชั่ง

เท่ากับ

หาบ

ชั่ง

เท่ากับ

๘๐

บาท

บาท

เท่ากับ

๑๕

กรัม (เมตริก)

หาบ

เท่ากับ

๕๐

ชั่ง/ ๖๐,๐๐๐ กรัม (๖๐ ก.ก.)

๑.๓ มาตราชั่งเปรียบเทียบ ไทย – สากล (เมตริก)

หุน

เท่ากับ

๐.๓๗๕

กรัม

ฬส

เท่ากับ

๐.๑๑๗๑๘๗๕

กรัม

อัฐ

เท่ากับ

๐.๒๓๔๓๗๕

กรัม

ไพ

เท่ากับ

๐.๔๖๘๗๕

กรัม

เฟื้อง

เท่ากับ

๐.๘๗๕

กรัม

สลึง

เท่ากับ

๓.๗๕๐

กรัม

บาท

เท่ากับ

๑๕

กรัม

ตำลึง

เท่ากับ

๖๐

กรัม

ชั่ง

เท่ากับ

๑,๒๐๐

กรัม

หาบ

เท่ากับ

๖๐,๐๐๐

กรัม  หรือเท่ากับ   ๖๐  กิโลกรัม

๑.๔ มาตรา สำหรับตวงของเหลว

ทะนาน

จุเท่ากับ

ลิตร/ ๑,๐๐๐ ซี.ซี./ ๑ กิโลกรัม

๑/๒

ทะนาน

จุเท่ากับ

๑/๒

ลิตร/ ๕๐๐ ซี.ซี.

๑๕

หยด

จุประมาณ

ซี.ซี.

ช้อนกาแฟ

จุประมาณ

ซี.ซี.

ช้อนหวาน

จุประมาณ

ซี.ซี.

ช้อนคาว

จุประมาณ

๑๕

ซี.ซี.

ถ้วยชา

จุประมาณ

๓๐

ซี.ซี.

๑.๕. มาตราวัด แบบโบราณ

คำว่า องคุลี ท่านหมายเอา ๑ ข้อของนิ้วกลาง ตามมาตรา ดังนี้ คือ

เมล็ดงา

เป็น

เมล็ดข้าวเปลือก

เมล็ดข้าวเปลือก

เป็น

องคุลี

๑๕

องคุลี

เป็น

ชั้นฉาย

คำว่า กล่ำ ท่านเทียบมาจาก เมล็ดมะกล่ำตาช้าง ตามมาตราดังนี้ คือ

เมล็ดงา

เป็น

เมล็ดข้าวเปลือก

เมล็ดข้าวเปลือก

เป็น

กล่อม

กล่อม

เป็น

กล่ำ  เท่ากับ  ครึ่งไพ

กล่ำ

เป็น

ไพ

ไพ

เป็น

เฟื้อง

เฟื้อง

เป็น

สลึง

สลึง

เป็น

บาท

บาท

เป็น

ตำลึง

๒๐

ตำลึง

เป็น

ชั่ง

๒๐

ชั่ง

เป็น

ดุล

๒๐

ดุล

เป็น

ภารา

คำว่า หยิบมือ กำมือ กอบมือ เทียบไว้ดังนี้ คือ

๑๕๐

เมล็ดข้าวเปลือก

เป็น

หยิบมือ

หยิบมือ

เป็น

กำมือ

กำมือ

เป็น

ฟายมือ

ฟายมือ

เป็น

กอบมือ

กอบมือ

เป็น

ทะนาน

๒๐

ทะนาน

เป็น

สัด

๔๐

สัด

เป็น

บั้น

บั้น

เป็น

เกวียน

เมล็ดงา

เป็น

เมล็ดข้าวเปลือก

เมล็ดข้าวเปลือก

เป็น

องคุลี

๑๕

องคุลี

เป็น

ชั้นฉาย




ข้อมูลในระบบนี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้ความรู้ ประกอบการเรียนการสอน | copyright © thai-herbs.thdata.co

สร้างบทความของคุณ โดยวิธีการง่ายๆ



แชร์ข้อมูล




ข้อมูลอื่นๆที่เกี่ยวข้อง